ภาษาที่มีผู้ใช้เป็นภาษาแม่ตั้งแต่ 100 ล้านคนขึ้นไป ของ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

อันดับภาษาตระกูลสถานะอย่างทางการจำนวนผู้พูด
(ข้อมูลปี 2548 โดย Ethnologue [1])
จำนวนผู้พูดจากแหล่งอื่น
1จีนกลาง (แมนดาริน)
(汉语 官话)
จีน-ทิเบตเป็นภาษาราชการในจีน (ภาษาจีนกลาง มี ภาษากวางตุ้ง เป็นภาษาราชการร่วมโดยพฤตินัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษฮ่องกงและมาเก๊า) ไต้หวัน และสิงคโปร์

ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย (รวมเกาะคริสต์มาส) บรูไน พม่า กัมพูชา แคนาดา ฝรั่งเศส (เฟรนช์โปลินีเซียและเรอูว์นียง) กวม (สหรัฐอเมริกา) อินโดนีเซีย จาเมกา มาเลเซีย มอริเชียส มองโกเลีย นาอูรู นิวซีแลนด์ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (สหรัฐอเมริกา) ฟิลิปปินส์ ซูรินาม ไทย สหรัฐอเมริกา เวเนซุเอลา และเวียดนาม

873 ล้านคน873 ล้านคนพูดเป็นภาษาหลัก และ 178 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 1,051 ล้านคน
2สเปน
(Español)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
ไอบีเรียน
เป็นภาษาราชการในอาร์เจนตินา โบลิเวีย ชิลี โคลอมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ อิเควทอเรียลกินี กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู สเปน รัฐนิวเม็กซิโก รัฐฟลอริดาและเครือรัฐเปอร์โตริโก (สหรัฐอเมริกา) อุรุกวัย และเวเนซุเอลา

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา อารูบา (เนเธอร์แลนด์) เบลีซ หมู่เกาะเคย์แมน (สหราชอาณาจักร) ยิบรอลตาร์ (สหราชอาณาจักร) อิสราเอล เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส (เนเธอร์แลนด์) สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา
322 ล้านคนผู้พูดอยู่ระหว่าง 322 ถึง 358 ล้านคน
400 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 100 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 500 ล้านคน
3อังกฤษ
(English)
อินโด-ยูโรเปียน
เจอร์มานิก
ตะวันตก
แองกลิก
เป็นภาษาราชการในแอนติกาและบาร์บูดา บาฮามาส บาร์เบโดส เบลีซ บอตสวานา แคเมอรูน แคนาดา ดอมินีกา เอริเทรีย ฟิจิ แกมเบีย กานา เกรเนดา กายอานา ฮ่องกง (จีน) อินเดีย ไอร์แลนด์ จาเมกา เคนยา คิริบาส เลโซโท ไลบีเรีย มาลาวี มัลดีฟส์ มอลตา หมู่เกาะมาร์แชลล์ มอริเชียส ไมโครนีเซีย นามิเบีย นาอูรู นิวซีแลนด์ (และดินแดนในปกครอง) ไนจีเรีย ปากีสถาน ปาเลา ปาปัวนิวกินี ฟิลิปปินส์ รวันดา เซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์ลูเชีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซามัว เซเชลส์ เซียร์ราลีโอน สิงคโปร์ หมู่เกาะโซโลมอน โซมาเลีย แอฟริกาใต้ สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย ตองงา ตรินิแดดและโตเบโก ตูวาลู ยูกันดา วานูอาตู แซมเบีย และซิมบับเว

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา อารูบา (เนเธอร์แลนด์) บังกลาเทศ บรูไนดารุสซาลาม อิสราเอล ฝรั่งเศส (แซงปีแยร์และมีเกอลง) มาเลเซีย มัลดีฟส์ โซมาเลีย ศรีลังกา และสวิตเซอร์แลนด์
309 ล้านคน380 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 720 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 1,100 ล้านคน
4อาหรับ
(العربية)
แอโฟร-เอเชียติก
เซมิติก
กลาง, กลางตอนใต้
ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ เป็นภาษาราชการในแอลจีเรีย บาห์เรน ชาด คอโมโรส จิบูตี อียิปต์ (พร้อมกับ ภาษาอาหรับแบบอียิปต์ ในฐานะภาษาประจำชาติ) เอริเทรีย อิรัก อิสราเอล จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โมร็อกโก ไนเจอร์ โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย ซูดาน ซีเรีย ตูนิเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เวสเทิร์นสะฮารา และเยเมน
ภาษาอาหรับแบบฮัสซานียะ เป็นภาษาราชการในมอริเตเนียและเซเนกัล และเป็นภาษาประจำชาติในมาลี

ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลเยียม สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ฝรั่งเศส ยิบรอลตาร์ (สหราชอาณาจักร) อิหร่าน และสเปน (เซวตาและเมลียา)
206 ล้านคน206 ล้านคน และ 24 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทุกแบบของภาษาอาหรับจะมี 230 ล้านคน (255 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2548)
อาหรับแบบอียิปต์: 46 ล้านคน
ฮัสซานียะ: 2.8 ล้านคน
อาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ มีผู้ใช้เป็นภาษาที่สองเท่านั้น
5ฮินดี
(हिन्दी)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิเรเนียน
อินโด-อารยัน
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (ภาษาขรีโพลี เป็นภาษาประจำชาติและในหลายรัฐ ภาษาไมถิลี ในรัฐพิหาร) และฟิจิ (ภาษาอวัธ)

ชุมชนสำคัญในเบลีซ เกรเนดา กายอานา มอริเชียส เนปาล แอฟริกาใต้ ซูรินาม ตรินิแดดและโตเบโก และเยเมน
181 ล้านคนทั้งหมด 948 ล้านคน ถ้ารวมคนที่พอมีความรู้
6โปรตุเกส
(Português)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
ไอบีเรียน
เป็นภาษาราชการในแองโกลา บราซิล กาบูเวร์ดี ติมอร์-เลสเต กินี-บิสเซา มาเก๊า (จีน) โมซัมบิก โปรตุเกส และเซาตูเมและปรินซิปี

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา แอนติกา ฝรั่งเศส อินเดีย (ดามันและรัฐกัว) ลักเซมเบิร์ก นามิเบีย ปารากวัย แอฟริกาใต้ สเปน สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา (รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ และรัฐโรดไอแลนด์) และเวเนซุเอลา
177.5 ล้านคน203 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก และมากกว่า 20 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 223 ล้านคน
7เบงกอล
(বাংলা)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิเรเนียน
อินโด-อารยัน
มากาดัน
อัสสัม-เบงกอล
เป็นภาษาราชการในบังกลาเทศ รัฐตริปุระ รัฐเบงกอลตะวันตก (อินเดีย)

ชุมชนสำคัญในพม่า โอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
171 ล้านคน196 ล้านคน (นับรวมผู้พูดภาษาจิตตะกอง 14 ล้านคน และผู้พูดภาษาซิลเหต 10.3 ล้านคน)
8รัสเซีย
(Русский язык)
อินโด-ยูโรเปียน
สลาวิก
ตะวันออก
เป็นภาษาราชการในอับคาเซีย (ส่วนหนึ่งของจอร์เจียโดยนิตินัย) เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย และทรานสนิสเตรีย (ส่วนหนึ่งของมอลโดวาโดยนิตินัย)

ชุมชนสำคัญในอาร์มีเนีย อาเซอร์ไบจาน เอสโตเนีย จอร์เจีย อิสราเอล ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน ยูเครน สหรัฐอเมริกา (รัฐนิวยอร์ก) และอุซเบกิสถาน
145 ล้านคน145 ล้านคนพูดเป็นภาษาหลัก และ 110 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 255 ล้านคน
9ญี่ปุ่น
(日本語)
จาโปนิกเป็นภาษาราชการในญี่ปุ่นและเกาะอังเอาร์ (ปาเลา)

ชุมชนสำคัญในกวม (สหรัฐอเมริกา) และสหรัฐอเมริกา (รัฐฮาวาย)
122 ล้านคน128 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 130 ล้านคน
10เยอรมัน
(Deutsch)
อินโด-ยูโรเปียน
เจอร์มานิก
ตะวันตก
ไฮเจอร์มานิก
เป็นภาษาราชการในออสเตรีย เยอรมนี แคว้นปกครองตนเองเซาท์ทีโรล (อิตาลี) ลิกเตนสไตน์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และสวิตเซอร์แลนด์

ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลีซ โบลิเวีย บราซิล แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก (เทศมณฑลเซาท์จัตแลนด์) ฝรั่งเศส ฮังการี อิสราเอล คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน นามิเบีย เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ โปแลนด์ ปารากวัย สหรัฐอเมริกา (รัฐนอร์ทดาโคตา รัฐเซาท์ดาโคตา และรัฐวิสคอนซิน)
95.4 ล้านคน101 ล้านคน (แบ่งเป็นผู้พูดภาษาเยอรมันมาตรฐาน 95 ล้านคน และผู้พูดภาษาเยอรมันแบบสวิส 6 ล้านคน) 70 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมได้ประมาณ 170 ล้านคน

ใกล้เคียง

รายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน) รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ รายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ) รายชื่อตัวละครในวันพีซ รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร รายชื่อสัตว์ รายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย รายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้ว รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ